รีแฟคโตมิเตอร์วัดเปอร์เซ็นต์น้ำตาลในหน่วยของออสเล
และบาโบ, Oechsle Refractometer, RHB-44sATC
2,500 บาท ผมอนันต์ครับ Tel.0868910596
RHB44sATC adopts the multiple-function of our RHB-32sATC, the
accuracy in measurement, spectacularly clear & vivid reticle chart
for easy and comfortable reading of results, aluminum-made-body
for durability and long life, cushioned with soft & comfortable rubber
for more relax reading of results, extremely easy use & calibrate and
has an Automatic Temperature Compensation which adopts the
current temperature. The advantage RHB-44sATC over other
refractometers is that, it is EQUIPPED WITH TRIPLE SCALE, °Oechsle,
Saccharose and KMN/ Babo, which GIVES YOU HIGHER
MEASUREMENT that reaches up to 0-190 °Oe, 0-44%Brix (Sacch.),
and 0-38 KMW (Babo) respectively under the ATC Compensation
Range of 10°C~30°C or 50°F~86°F which are the most important
units to you help you determine the sugar content.
The unit can also be use in brewery, fermentation progress, for
winegrowers, crop, grapes vineyard, fruits to check the ripeness,
cowberry juices and farming, and freshly squeezed fruits.
Features คุณลักษณะ
- simple and easy to use, durable, lightweight with comfortable non-slip rubber
- Extremely easy-to-use and calibrate
- Equipped with Built-in ATC compensation Range (Automatic Temperature Compensation) from 10° to 30°C to correct temperature discrepancies during use
Specifications คุณสมบัติ :
- Measuring Range ช่วงของการวัด : 0-190 °Oe, 0-38 KMW (Babo), 0-44%Brix (Sacch.)
- Minimum Division ความละเอียด : 2°Oe, 0.5KMW Babo, 0.5%Brix
- Accuracy ความแม่นยำ : ±2°Oe, ±0.2KMW, ±0.5%Brix
- ATC Compensation Range ช่วงการชดเชยอุณหภูมิ : 10°C~30°C (50°F~86°F)
- Length ความยาว : 146 มม.
Set Includes ในเซตประกอบด้วย :
- 1 x 44% Brix Refractometer
- 1 x Pipette
- 1 x English Operations manual
- 1 x Mini-screw driver
- 1 x Soft protective carrying case
ท่านครับ สำหรับหน่วยของการวัดความหวานบนโลกนี้ที่ใช้กัน
ไม่ได้มีแค่หน่วยเดียวคือหน่วย Brix ครับ
แต่ว่ามันมีมากมายทีเดียวแล้วแต่สถานที่ที่เขายอมรับกันว่าจะใช้ในหน่วยไหน
หน่วยวัดความหวานเป็น Brix นี้ ถูกพัฒนามาจากชาวออสเตรียชื่อ
นาย Adolph Brix ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1850 - 1870
ซึ่งสเกลนี้เป็นที่ยอมรับกันในประเทศสหรัฐฯ แต่เนื่องจากสหรัฐฯ เป็นมหาอำนาจ
จึงทำให้ Brix เป็นสเกลที่นิยมมากที่สุดสเกลหนึ่งในโลก
แต่ถ้าถามว่าในส่วนอื่นของโลกที่พัฒนาแล้ว(เช่นค่ายยุโรป)
ยังมีสเกลวัดความหวานสเกลอื่นที่
เป็นที่ยอมรับอีกหรือไม่ คำตอบคือ มีและใช้กันมานานแล้วด้วย เช่น
1. เสกลของออสเล Öechsle Scale (ตัวย่อ °Oe)
สเกลนี้ถูกประดิษฐ์โดยคนเยอรมันนีชื่อนาย Ferdinand Öechsle
ในปี ค.ศ.1836
มันใช้ประโยชน์เพื่อใช้วัดความหวานของผลไม้ว่าถึงเวลาที่สุกเต็มที่ควรจะเก็บ
เกี่ยวแล้วหรือยัง
สเกลออสเลนี้เป็นนิยมและยอมรับกันในประเทศเยอรมันนีและสวิตเซอร์แลนด์
ยิ่งหากเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับไวน์หรือเบียร์แล้ว
มักจะอ้างวิธีการตรวจวัดหรือเตรียมสารในหน่วยนี้เสมอ โดยประมาณแล้ว 5
ออสเลจะประมาณได้เท่ากับ 1 เปอร์เซ็นต์น้ำตาลโดยน้ำหนัก(One percent
sugar by weight)
2. สเกลของ Klosterneuburger Mostwaage ตัวย่อ KI°, °KMW,
Babo
สเกลนี้ถูกพัฒนามาจากชาวออสเตรียชื่อนาย Baron August Wilhelm von Babo
ในปี 1861 สเกลนี้ภายหลังได้รับการยอมรับอย่างมากในหมู่นักผลิตในอิตาลี
ซึ่งเรียกมันย่อ ๆ ว่าเป็นสเกลบาโบ คำว่า Mostwaage มีความหมายถึง "Must
Scale" ซึ่งมันใช้ตรวจวัดระดับความหวานใน Must ที่ควรจะเป็นในสารละลายผลิตไวน์
โดยที่ 1
หน่วยของบาโบจะประมาณเท่ากับหนึ่งเปอร์เซ็นต์น้ำตาลโดยน้ำหนัก
ซึ่งหากท่านจะผลิตไวน์ในประเทศออสเตรียแล้ว เขามักจะอ้างการตรวจวัด
หรือให้คำแนะนำในส่วนผสมเป็นหน่วยนี้เสมอ
คำนิยามของ Must ในกระบวนการผลิตไวน์เป็นดังนี้ครับ
Must : A red-wine making term that refers to the soupy mass of squished
skins, seeds, and pulp that are fermented together. "Must" can also be
applied to fruit winemaking; it refers to the gloppy pulp/skin mixture to which
the yeast are added, essentially the winemaker's raw material. In contrast if
the pulp and other solids are pressed off before fermentation, the raw
material is simply "juice."(สำหรับการผลิตไวน์แล้วศัพท์แสงภาษาอังกฤษที่ควรทราบจะอยู่ที่เวบนี้ครับ)
ตรงนี้อยากให้ท่านดูสเกลทั้งสามอีกครั้งครับ ท่านจะพบว่าสเกลทั้งสามนั้นมันเหลื่อม ๆ
กันอยู่ ไม่เท่ากันพอดี เพราะฉะนั้นแล้วหากท่านต้องการจะวัดความหวาน
หรือรายงานผลการตรวจวัดของความหวานในหน่วยใด
ก็ให้ท่านหยดสารละลายลงไปบนรีแฟคโตมิเตอร์นี้แล้วส่อง แล้วมองไปหาสเกลในหน่วย
นั้น ๆ ครับ
ฉะนั้นแล้วหากท่านมีรีแฟคโตมิเตอร์วัดความหวานสักอันที่สามารถจะตรวจวัดได้ทั้ง 3
สเกลแล้ว ท่านมีตำราการผลิตไวน์ ผลิตเบียร์มาจากฝั่งยุโรปหรืออเมริกา
ซึ่งก็มักจะอ้างอิงไปในทางสเกลที่เขาใช้กันมาก ๆ ในประเทศเขา
และมักจะไม่ยอมแปลงสเกลเขาไปในหน่วยอื่น ๆ ให้ทราบ
ท่านก็จะทราบและสามารถตรวจวัดหรือทำการผลิตได้เกือบทั้งหมด
หรือหากท่านต้องการสเกลที่ละเอียดขึ้น
แต่ว่าช่วงของการวัดจะน้อยลงสักเล็กน้อยก็มีอีกรุ่นให้เลือกเช่นกันครับ